ยํ ยํ เทวมนุสฺสานํ มงฺคลตฺถาย ภาสิตํ
ตสฺส ตสฺสานุภาเวน โหตุ ราชกุเล สุขํ
เย เย อารกฺขกา เทวา ตตฺถ ตตฺถาธิวาสิโน
อิมินา ธมฺมทาเนน สพฺเพ อมฺเหหิ ปูชิตา
สทา ภทฺรานิ ปสฺสนฺตุ สุขิตา โหนฺตุ นิพฺภยา
อปฺปมตฺตา จ อมฺเหสุ สพฺเพ รกฺขนฺตุ โน สทา
ยญฺจ โน ภาสมาเนหิ กุสลํ ปสุตํ พหุํ
ตนฺโน เทวานุโมทนฺตุ จิรํ ติฏฺฐนฺตุ สาตตํ
เย วา ชลาพุชณฺฑชา สํเสทโชปปาติกา
อเวรา โหนฺตุ สพฺเพ เต อนีฆา นิรุปทฺทวา
ปสฺสนฺตุ อนวชฺชานิ มา จ สาวชฺชมาคมา
จิรํ ติฏฺฐตุ โลกสฺมึ สมฺมาสมฺพุทฺธสาสนํ
ทสฺเสนฺตํ โสตวนฺตูนํ มคฺคํ สตฺตวิสุทฺธิยา
ยาว พุทฺโธติ นามมฺปิ โลกเชฏฺฐสฺส สตฺถุโน
สมฺมาเทสิตธมฺมสฺส ปวตฺตติ มเหสิโน
ปสนฺนา โหนฺตุ สพฺเพปิ ปาณิโน พุทฺธสาสเน
สมฺมา ธารํ ปเวจฺฉนฺโต กาเล เทโว ปวสฺสตุ
วุฑฺฒิภาวาย สตฺตานํ สมิทฺธํ เนตุ เมทนึ
มาตา ปิตา จ อตฺรชํ นิจฺจํ รกฺขนฺติ ปุตฺตกํ
เอวํ ธมฺเมน ราชาโน ปชํ รกฺขนฺตุ สพฺพทา.
————————-
สุขาภิยาจนคาถา แปล
ยํ ยํ เทวมนุสฺสานํ มงฺคลตฺถาย ภาสิตํ
พระปริตรใด ๆ อันเราสวดแล้ว เพื่อประโยชน์ แก่มงคล แห่งเทพดาและมนุษย์ทั้งหลาย
ตสฺส ตสฺสานุภาเวน ด้วยอานุภาพแห่งพระปริตรนั้น ๆ
โหตุ ราชกุเล สุขํ ขอความสุขจงมีในราชสกุล
เย เย อารกฺขกา เทวา เทพเจ้าทั้งหลายใด ๆ ผู้รักษาโดยเอื้อเฟื้อ
ตตฺถ ตตฺถาธิวาสิโน ผู้สิงสถิตอยู่ในสถานนั้น ๆ
อิมินา ธมฺมทาเนน สพฺเพ อมฺเหหิ ปูชิตา
ทั้งหมด อันเราบูชาแล้ว ด้วยธรรมทานนี้
สทา ภทฺรานิ ปสฺสนฺตุ
เทพเจ้าทั้งหลายนั้น ๆ จงเห็นสิ่งอันเจริญทั้งหลายทุกเมื่อ
สุขิตา โหนฺตุ นิพฺภยา จงเป็นผู้ถึงซึ่งความสุข ปราศจากภัยทุกเมื่อ
อปฺปมตฺตา จ อมฺเหสุ สพฺเพ รกฺขนฺตุ โน สทา
อนึ่ง เหล่าเทพเจ้าทั้งสิ้น จงอย่าประมาทแล้วในเรา รักษาเราทุกเมื่อ
ยญฺจ โน ภาสมาเนหิ กุสลํ ปสุตํ พหุํ
อนึ่ง กุศลอันใดมาก อันเราภาษิตอยู่ ขวนขวายแล้ว
ตนฺโน เทวานุโมทนฺตุ
เทพเจ้าทั้งหลาย จงอนุโมทนากุศลอันนั้น ของเรา
จิรํ ติฏฺฐนฺตุ สาตตํ จงดำรงอยู่ติดต่อกันสิ้นกาลนาน
เย วา ชลาพุชณฺฑชา
อนึ่ง สัตว์ทั้งหลายใด ที่เป็นชลาพุชะกำเนิดในครรภ์มารดา และที่เป็นอัณฑชะกำเนิดในฟอง
สํเสทโชปปาติกา
และที่เป็นสังเสทชะ กำเนิดในเหงื่อไคล และที่เป็นอุปปาติกะกำเนิดลอยขึ้น
อเวรา โหนฺตุ สพฺเพ เต ขอสรรพสัตว์ทั้งหลายนั้น จงเป็นผู้ไม่มีเวร
อนีฆา นิรุปทฺทวา ไม่มีทุกข์ ไม่มีอุปัทวะ
ปสฺสนฺตุ อนวชฺชานิ เห็นกรรมทั้งหลาย อันหาโทษมิได้
มา จ สาวชฺชมาคมา
อนึ่ง กรรมอันมีโทษ อย่ามาพ้องพานสัตว์เหล่านั้นจ
จิรํ ติฏฺฐตุ โลกสฺมึ สมฺมาสมฺพุทฺธสาสนํ
ทสฺเสนฺตํ โสตวนฺตูนํ มคฺคํ สตฺตวิสุทฺธิยา
ขอคำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อันเราแสดงมรรคาแก่สัตว์ผู้มีโสตวิญญาณธาตุ เพื่อความหมดจดแก่สัตว์ จงดำรงอยู่ในโลกสิ้นกาลนานย
ยาว พุทฺโธติ นามมฺปิ โลกเชฏฺฐสฺส สตฺถุโน
สมฺมาเทสิตธมฺมสฺส ปวตฺตติ มเหสิโน
แม้พระนามว่า พุทโธ ดังนี้ ของพระศาสดา ผู้ประเสริฐในโลก ผู้มีธรรมอันแสดงแล้วโดยชอบ ผู้แสวงหาซึ่งคุณอันใหญ่ ยังเป็นไปอยู่ เพียงใด
ปสนฺนา โหนฺตุ สพฺเพปิ ปาณิโน พุทฺธสาสเน
แม้สรรพสัตว์ทั้งหลาย จงเป็นผู้เลื่อมใสแล้ว ในพระพุทธศาสนา
สมฺมา ธารํ ปเวจฺฉนฺโต กาเล เทโว ปวสฺสตุ
ขอฝนจงเพิ่มให้อุทกธาร ตกต้องในฤดูกาล โดยชอบ
วุฑฺฒิภาวาย สตฺตานํ สมิทฺธํ เนตุ เมทนึ
จงนำไปซึ่งเมทนีดลให้สำเร็จประโยชน์ เพื่ออันบังเกิดความเจริญแก่สัตว์ทั้งหลาย
มาตา ปิตา จ อตฺรชํ นิจฺจํ รกฺขนฺติ ปุตฺตกํ
มารดาและบิดา ย่อมถนอมบุตรน้อย อันบังเกิดในตน เป็นนิตย์ ฉันใด
เอวํ ธมฺเมน ราชาโน ปชํ รกฺขนฺตุ สพฺพทา.
พระราชาทั้งหลาย จงทรงรักษาประชาราษฎร์โดยชอบ ในกาลทั้งปวง ฉันนั้น.
————————-