บทที่ ๒ ว่าด้วยกาพย์

       กาพย์ เป็นคำประพันธ์ประเภทหนึ่ง ซึ่งมีมาในคัมภีร์กาพย์ ๒ คัมภีร์ คือ คัมภีร์กาพย์สารวิลาสินี และคัมภีร์กาพย์คันถะ นักปราชญ์ได้กำหนดหลักเกณฑ์การแต่งกาพย์ภาษาบาลีไว้อย่างชัดเจน พร้อมกับแต่งกาพย์ตัวอย่างเป็นภาษาบาลีไว้ แต่ไม่ปรากฏชัดว่า แต่งขึ้นที่ไหน เมื่อไร เพียงมีผู้สันนิษฐานว่า คงแต่งขึ้นในอินเดีย…

บทที่ ๑ ว่าด้วยร่าย

        ในบทก่อนได้กล่าวถึงประเภทคำกวีและข้อแนะนำบางประการแล้ว ในบทนี้ จะกล่าวถึงกวีประเภทแรกคือร่าย พร้อมด้วยวิธีการประพันธ์และตัวอย่างตามลำดับ         ร่าย เป็นคำประพันธ์หรือคำร้อยกรองประเภทหนึ่ง ในคำประพันธ์ ๕ ประเภท มีฉันทลักษณ์ หรือข้อบังคับเฉพาะตัว แต่ไม่มากเหมือนคำประพันธ์ประเภทอื่น ทั้งการแต่งบทหนึ่ง ๆ…

บทนำเรื่อง

        “ตำรากวีนิพนธ์” เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นใหม่ เพื่อให้ผู้ศึกษาได้ทราบชัดเจนและถูกต้อง จึงอธิบายชื่อเป็นสำคัญ โดยจะแยกคำออกให้มองเห็น         คำว่า “ตำรา” หมายถึง แบบแผนที่มีผู้กำหนดไว้ ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ ให้ความหมายว่า เป็นนาม หมายความว่า…

คำปรารภ

        ข้าพเจ้าได้สนใจและใฝ่รู้วิชากวีนิพนธ์มาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๘ เมื่อเป็นนักเรียนบาลีชั้นประโยค ป.ธ.๓ เพราะวิชาบุรพภาคชั้นประโยค ป.ธ.๓ กำหนดเอาหนังสือราชการและกาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ เป็นหลักสูตร โดยกำหนดให้แก้ถ้อยคำ จัดวางรูปเรื่อง และจัดวรรคตอนให้ถูกต้องกับชนิดหนังสือนั้น…