ตอนที่ ๘ ลำดับพัดยศสมณศักดิ์ ฐานานุกรม และเปรียญ —————– โดยที่ได้มีการจัดสร้างพัดยศสมณศักดิ์ เพื่อปรับปรุงให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสายงานการปกครองคณะสงฆ์ พร้อมกับได้จัดลำดับพัดยศสมณศักดิ์ ฐานานุกรม และเปรียญ ในงานพระราชพิธีและรัฐพิธี โดยความเห็นชอบของมหาเถรสมาคม ในการประชุมครั้งที่ ๖/๒๕๔๑ …
Category: วิทยาพระสังฆาธิการ (๒)
ตอนที่ ๗ วิธีขอสมณศักดิ์ และขอเลื่อนชั้นพระสังฆาธิการ
ตอนที่ ๗ วิธีขอสมณศักดิ์ และขอเลื่อนชั้นพระสังฆาธิการ ——————– การพระราชทานสมณศักดิ์แก่พระสงฆ์นั้น แต่เดิมมาคณะสงฆ์มิได้ขอรับพระ ราชทานเอง องค์พระมหากษัตริย์ทรงทราบกิตติคุณของพระเถระรูปใดด้วยพระเนตรพระกรรณ ทรงเห็นว่าควรแก่การยกย่อง ก็ทรงพระราชทานแก่รูปนั้น แต่ถ้าเป็นพระสงฆ์ในส่วนภูมิภาค ก็ทรงพิจารณาความดีความชอบทางเสนาบดีกระทรวงธรรมการและเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย เริ่มแต่เมื่อสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณ-วโรรส…
ตอนที่ ๖ ประทวนสมศักดิ์และพระพิธีธรรม
ตอนที่ ๖ ประทวนสมศักดิ์และพระพิธีธรรม ——————- ประทวนสมณศักดิ์ ได้แก่สมณศักดิ์ชั้นประทวน ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงสมณ-ศักดิ์ชั้นนี้ เรียกว่า “พระครูประทวน” หรือ “พระครูในนามเดิม” ในพระราชบัญญัติลักษณปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ.๑๒๑ ให้เจ้าคณะมณฑลแต่งตั้งเจ้าคณะแขวง และผู้ได้…
ตอนที่ ๕ เปรียญ
ตอนที่ ๕ เปรียญ ————- “เปรียญ” เป็นคำที่ใช้อยู่ในวงการคณะสงฆ์ในปัจจุบันซึ่งเป็นคู่กับว่า “พระมหา” ขอขยายความเพื่อเป็นแนวทางการศึกษาดังนี้ ๑. “เปรียญ” เป็นชื่อประเภทแห่งสมณศักดิ์ซึ่งโปรดพระราชทานแก่ผู้สอบความ รู้บาลีได้ แต่มิใช่เป็นเครื่องหมายสมณศักดิ์ ดังคำว่า…
ตอนที่ ๔ ฐานานุกรม
ตอนที่ ๔ ฐานานุกรม ————— ฐานานุกรม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ฐานานุศักดิ์ เป็นสมณศักดิ์สำหรับประดับพระอิสริยยศของสมเด็จพระสังฆราช หรืออิสริยยศของสมเด็จพระราชาคณะและพระ ราชาคณะ ซึ่งแต่เดิมมีโดยพระบรมราชโองการและกฎหมาย มีไว้เพื่อเป็นบริวารยศและเพื่อช่วยภาระธุระของผู้ตั้ง คงเริ่มพระราชทานแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นต้นมา ที่ปรากฏในปัจจุบันพอจัดได้ดังนี้ …
ตอนที่ ๓ พระครูสัญญาบัตร
ตอนที่ ๓ พระครูสัญญาบัตร —————— พระครูสัญญาบัตร จัดเป็นสมณศักดิ์สัญญาบัตรชั้นแรก เป็นพระครูมีราช-ทินนาม ในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชแห่งกรุงสุโขทัย เรียกว่า “ปู่ครู” ต่อมาในสมัยพระมหาธรรมราชา (ลิไทย) แห่งกรุงสุโขทัยนั้น ได้เปลี่ยนเป็น “พระครู”…
ตอนที่ ๒ พระราชาคณะ
ตอนที่ ๒ พระราชาคณะ —————— พระราชาคณะ เป็นประเภทแห่งสมณศักดิ์ชั้นผู้ปกครองคณะสงฆ์ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเรียกว่า“พระสังฆราชาคณะ” ซึ่งหมายความว่า“เจ้าคณะผู้ปกครองสงฆ์” เดิมเป็นตำแหน่งคู่กับการปกครองคณะสงฆ์ ต่อมาสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นเปลี่ยนเรียกว่า “พระราชาคณะ” ความหมายคงเดิมและได้เรียกมาจนถึงปัจจุบัน พระเถระผู้ดำรงอิสริยยศชั้นนี้ มีคำนำหน้าราชทินนามว่า “พระ” …
ตอนที่ ๑ สมเด็จพระราชาคณะ
ตอนที่ ๑ สมเด็จพระราชาคณะ ———————- คำว่า “สมเด็จพระราชาคณะ” เป็นชื่อประเภทแห่งสมณศักดิ์ คำว่า “สมเด็จพระ” เป็นคำนำหน้าราชทินนาม คำว่า “สมเด็จ” เป็นคำยกย่องชั้นสูง ซึ่งพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทาน ในสมัยสุโขทัยไม่ปรากฏคำนี้เลย …
ส่วนที่ ๑๐ สมณศักดิ์
ส่วนที่ ๑๐ สมณศักดิ์ ————— สมณศักดิ์ เป็นอิสริยยศแห่งพระสงฆ์ ซึ่งองค์พระมหากษัตริย์ทรงพระราชทาน เพื่อเป็นเครื่องราชสักการะ ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช เป็นยอดแห่งสมณศักดิ์ทั้งมวล เพราะเป็นตำแหน่งสกลมหาสังฆปริณายก ทรงปกครองคณะสงฆ์และคณะสงฆ์อื่น สมณศักดิ์เป็นผลแห่งความดี เพราะทรงพระราชทานแก่พระสงฆ์ผู้ทรงคุณวุฒิ มีปรีชาสามารถ…
ตอนที่ ๕ วิธีรับและเก็บรักษาเงินของวัด และวิธีทำบัญชี
ตอนที่ ๕ วิธีรับและเก็บรักษาเงินของวัด และวิธีทำบัญชี —————– การรับและการเก็บรักษาเงินของวัดและการทำบัญชี เป็นงานการศาสนสมบัติของวัดงานหนึ่ง ซึ่งอยู่ในความดูแลและจัดการของเจ้าอาวาส ในกฎกระทรวงข้อ ๕-๖ ได้ระบุไว้โดยชัดเจน จึงขอเรียนวิธีปฏิบัติเป็น ๓ วิธี คือ…
ตอนที่ ๔ การให้เช่าที่ธรณีสงฆ์ที่กัลปนา หรือที่ดินที่กันไว้เป็นที่จัดประโยชน์
ตอนที่ ๔ การให้เช่าที่ธรณีสงฆ์ที่กัลปนา หรือที่ดินที่กันไว้เป็นที่จัดประโยชน์ ——————– ตามความในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์มาตรา ๓๓ กำหนดที่ดินซึ่งเป็นสมบัติของวัดและที่วัดจะได้เฉพาะผลประโยชน์ไว้ ๓ ประเภท ดังบทบัญญัติว่า มาตรา ๓๓ ที่วัดและที่ซึ่งขึ้นต่อวัด …
ตอนที่ ๓ การให้เช่าที่ดินหรืออาคาร
ตอนที่ ๓ การให้เช่าที่ดินหรืออาคาร ————— การให้เช่าที่ดินหรืออาคาร เป็นงานหนึ่งในการจัดการศาสนสมบัติของวัด ซึ่งกำหนดวิธีปฏิบัติโดยกฎกระทรวง ข้อ ๓ ซึ่งมีความว่า “การให้เช่าที่ดินหรืออาคาร ให้เจ้าอาวาสจัดให้ไวยาวัจกรหรือผู้จัดประโยชน์ของวัดซึ่งเจ้าอาวาสแต่งตั้ง ทำทะเบียนทรัพย์สินที่จัดประโยชน์ ทะเบียนผู้เช่าหรือผู้อาศัยไว้ให้ถูกต้อง และให้เก็บรักษาทะเบียนและหนังสือสัญญาเช่าไว้เป็นหลักฐานที่วัด…